ประกอบด้วยระบบสารสนเทศ 2 ชนิดระบบ
1. ระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical information system)
เป็นระบบการจัดการฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
แพทย์และพยาบาลจะใช้ระบบนี้ในการเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการนำไปใช้
และการประเมินการดูแลผู้ป่วย
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
- ระบบสารสนเทศทางการแพทย์
1.1 บัททึกข้อมูลทางการพยาบาล เช่น
1.
North American Nursing Diagnosis Association : NANDAสมาคมการวินิจฉัยทางการพยาบาลอเมริกาเหนือ
2.
Nursing Intervention Classification : NIC ใช้ตัดสินว่าจะให้การบาบัดทางการพยาบาลให้แก่ผู้ป่วยเพื่อแก้บรรเทาปัญหาทางสุขภาพ
3.
Nursing Outcome Classification : NOC ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลที่ช่วยประเมินว่าผู้ป่วยได้รับการพยาบาลที่มีคุณภาพครบถ้วนและเท่าเทียมกันทุกคน
4.
International Classification Nursing Practice :
ICNP การใช้คามาตรฐานในการวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.2มีความยืดหยุ่นในการใช้ระบบเพื่อดูข้อมูลและเก็บรวบรวมสารสนเทศที่จำเป็นทำให้มีการดูแลผู้ป่วยที่มีคุณภาพ
- ระบบติดตาม (Monitor system)
1. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดทางชีวภาพแบบอัตโนมัติในหน่วยวิกฤต
และหน่วยเฉพาะโรค2.รูปแบบของระบบ ติดตาม เช่น การเตือนเมื่อพบสิ่งที่ผิดปกติ
2.ระบบติดตามแบบเคลื่อนที่
3.การบันทึกสิ่งค้นพบที่ผิดปกติ3.สามารถถ่ายโอนข้อมูลผู้ป่วยเข้าไปสู่ระบบอื่นได้
เพื่อที่จะได้มีการบันทึก ข้อมูลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง
- ระบบห้องปฏิบัติการ (Laboratory system)
1 .บันทึกข้อมูลผลการตรวจต่างๆ ทางห้องปฏิบัติการ
2.สามารถเข้าถึงผลการตรวจได้อย่างสะดวกและรวดเร็วขึ้น
3.ช่วยลดความผิดพลาดในการายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกิดจากคน
ตัวอย่าง เช่น ระบบฐานข้อมูล ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา
- ระบบรังสี (Radiology system)
1.เก็บข้อมุลเป็นภาพดิจิตอลแทนฟิล์มรังสีแบบเดิม
2.สามารถเข้าถึงข้อมูลภาพทางรังสีได้อย่างรวดเร็วขึ้น
3.สามารถส่งต่อภาพรังสีไปยังแหล่งอื่นๆ
เพื่อส่งต่อการรักษาไปยังโรงพยาบาลอื่น ตัวอย่าง เช่น ระบบฐาน ข้อมูล x-ray ของโรงพยาบาลศิริราชระบบ SIPACS
- ระบบเภสัชกรรม (Pharmacy system)
1.ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยา
2.สามารถเข้าถึงประวัติผู้ป่วยและการให้ยาได้
รวมทั้งประวัติการแพ้ยาและข้อมุ,
ส่วนบุคคล
3.ช่วยแพทยืในการตัดสินใจว่ายาตัวไหนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
และขนาดยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
4.การคำนวณการใช้ยา
ค่าใช้จ่ายและออกใบเสร็จรับเงิน